วิชา การผลิตสื่อวีดีโอ
- รายละเอียด
- ผู้สอน
รายละเอียด : วิชา แปลมคธเป็นไทย | คัมภีร์มังคลัตถทีปนี นี้ พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่งขึ้น โดย นําพระบาลีจากพระไตรปิฎก เล่มที่ 25 มงฺคลสุตฺตปาลิ ประมาณหนึ่งหน้ามาอธิบายขยายความ เนื้อหาที่นํามาอธิบาย มีทั้งไวยากรณ์ วุตโตทัย อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา เป็นที่ยอมรับของนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท นานาประเทศ เป็นหนังสือที่มีคําอธิบายโดยอ้างอิงหลักฐาน จากแหล่งต่างๆ พร้อมทั้งมีตัวอย่างประกอบด้วย ฉะนั้น จึงเป็นหนังสือที่มีประโยชน์ต่อพุทธบริษัทอย่างมาก ซึ่งภิกษุสามเณรก็นิยมนําไปเทศน์สั่งสอนชาวประชาอยู่เนืองๆ ในงานต่างๆ ไม่ว่าเป็นงานมงคลหรือแม้แต่อวมงคลก็ตาม นอกจากนั้นแล้ว ยังใช้เป็นหลักสูตรสําหรับผู้ศึกษาบาลีสนามหลวง ประโยค ป.ธ. 4, 5 และประโยค ป.ธ. 7 อีกด้วย (คำนำจากหนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 1 ภาค 1 พิมพ์โดยวัดจากแดง)
ผู้สอน | พระมหาวิทยา กิตฺติปญฺโญ
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
เนื้อหาของวิชานี้
เรื่องที่ควรทำความเข้าใจก่อนเรียน |
|
บทเรียนที่ 1 : มังคลัตถทีปนี คืออะไร |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 2 : ใครเป็นคนแต่ง |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 3 : ขยายความตอนใดของพระไตรปิฎก |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 4 : โครงสร้างของมังคลัตถทีปนี |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 5 : ความยากของการแปลมังคลัตถทีปนี |
กดเรียน เอกสาร |
พรรณนาความ : คาถาเริ่มต้น |
|
บทเรียนที่ 1 : ปณามคาถา คาถาไหว้ครู |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 2 : เหตุเกิดขึ้นของมงคลสูตร |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 3 : ขอบเขตของมงคลสูตร |
กดเรียน เอกสาร |
บทเรียนที่ 4 : อธิบายคำศัพท์ในคาถาเริ่มต้น |
กดเรียน เอกสาร |
พรรณนาความ : คาถาที่ 1 |
|
มงคลข้อที่ 1 – 2 : การไม่คบคนพาลและการคบบัณฑิต |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 3 : การบูชาคนที่ควรบูชา |
กดเรียน |
พรรณนาความ : คาถาที่ 2 |
|
มงคลข้อที่ 4 : การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 5 : ความเป็นผู้มีบุญมาแต่ปางก่อน |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 6 : การตั้งตนไว้ชอบ |
กดเรียน |
พรรณนาความ : คาถาที่ 3 |
|
มงคลข้อที่ 7 : ความเป็นพหูสูต |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 8 : ความเป็นผู้มีศิลปะ |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 9 : ความเป็นผู้มีวินัย |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 10 : วาจาสุภาษิต |
กดเรียน |
พรรณนาความ : คาถาที่ 4 |
|
มงคลข้อที่ 11 : การบำรุงมารดาบิดา |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 12 – 13 : การสงเคราะห์บุตรและภรรยา |
กดเรียน |
มงคลข้อที่ 14 : การงานไม่คั่งค้าง |
กดเรียน |